ตั้งแต่เมื่อประมณ 4600 ล้านปที่แล้ว มีการเปลี่ยนแปลงของโลกเกิดขึ้น จนทำให้มีการเปลี่ยนแปลงต่างๆมากมาย เช่น ภูเขาไฟบางลูก ถูกกัดเซาะเปลี่ยนเป็นที่ราบ และยังส่งผลต่อการวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
ข้อมูลทางะรณีวิทยาที่สามารถอธิบายความเป็นมาของพื้นที่ในอดีตมีดังนี้
- อายุทางธรณีวิทยา- ซากดึกดำบรรพ์- ธรณีโครงสร้าง และการดำดับชั้นหิน
- อายุทางธรณีวิทยา- ซากดึกดำบรรพ์- ธรณีโครงสร้าง และการดำดับชั้นหิน
อายุทางธรณีวิทยา แบ่งออกเป็น 2 แบบดังนี้
1) อายุเปรียบเทียบ ( Relative age ) เป็นวิธีการทางธรณีวิทยาท่ใช้ในการหาอายุของหินว่า กลุ่มหินใดมีอายุมากกว่าหรือน้อยกว่า
2) อายุสัมบูรณ์ ( Absolute age ) เป็นการหาอายุของหิน แร่ และซากดึกดำบรรพ์ โดยวิเคราะหาปริมาณไอโซโทปที่อยู่ในหิน สารกัมมันตภาพที่นิยมนำมาหาอายุหิน ได้แก่ คาร์บอน 12 , โพแทสเซียม 40 , รูบิเดียม 87 และยูเรเนียน 238 หาอายุโดยใช้กัมมันตภาพนิยมใช้ รูบิเดียม 87 สแต่ถ้าตะกอนกับซกดึกดำบรรพ์ที่อายุ 70000 ปี ต้องใช้ คาร์บอน 14
1) อายุเปรียบเทียบ ( Relative age ) เป็นวิธีการทางธรณีวิทยาท่ใช้ในการหาอายุของหินว่า กลุ่มหินใดมีอายุมากกว่าหรือน้อยกว่า
2) อายุสัมบูรณ์ ( Absolute age ) เป็นการหาอายุของหิน แร่ และซากดึกดำบรรพ์ โดยวิเคราะหาปริมาณไอโซโทปที่อยู่ในหิน สารกัมมันตภาพที่นิยมนำมาหาอายุหิน ได้แก่ คาร์บอน 12 , โพแทสเซียม 40 , รูบิเดียม 87 และยูเรเนียน 238 หาอายุโดยใช้กัมมันตภาพนิยมใช้ รูบิเดียม 87 สแต่ถ้าตะกอนกับซกดึกดำบรรพ์ที่อายุ 70000 ปี ต้องใช้ คาร์บอน 14
ซากดึกดำบรรพ์ คือ ซาก และร่องรอยสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ที่เคยอาศัยอยู่ในช่วงยุคก่อนประวัติศาสตร์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้
1) ซากดึกดำบรรพ์ดัชนี คือ เป็นซากดึกดำบรรพ์ที่บอกช่วงอายุได้แน่นอน เนื่องจากซากดึกดำบรรพ์ที่มีการกระจายทั่วโลก งที่พบเห็นได้ในช่วงเวลาหนึ่ง ได้แก่ ไทรโลไบต์ , แกรปโตไลท์ และฟิวซูลินิด
2) ซากดึกดำบรรพ์ในประเทศไทย ไดโนเสาร์ ที่อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่น เป็นไดโนเสาร์กินพืช , เดิน 4 เท้า , คอและหางยาว ได้รบการตั้งชื่อว่า " ภูเวียงโกซอรัส สิรินทรเน " และยังพบสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม พบเมอร์ริโคโปเตมัส พบที่บอขุดทราย ต.ท่าช้าง อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.นครราชสีมา
1) ซากดึกดำบรรพ์ดัชนี คือ เป็นซากดึกดำบรรพ์ที่บอกช่วงอายุได้แน่นอน เนื่องจากซากดึกดำบรรพ์ที่มีการกระจายทั่วโลก งที่พบเห็นได้ในช่วงเวลาหนึ่ง ได้แก่ ไทรโลไบต์ , แกรปโตไลท์ และฟิวซูลินิด
2) ซากดึกดำบรรพ์ในประเทศไทย ไดโนเสาร์ ที่อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่น เป็นไดโนเสาร์กินพืช , เดิน 4 เท้า , คอและหางยาว ได้รบการตั้งชื่อว่า " ภูเวียงโกซอรัส สิรินทรเน " และยังพบสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม พบเมอร์ริโคโปเตมัส พบที่บอขุดทราย ต.ท่าช้าง อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.นครราชสีมา
การลำดับชั้นหิน โลกมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกระบวนการและปรากฏการณ์ต่างๆทางธรณีวิทยา การเปลี่ยนแปลงที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์เปลือกโลกเปลี่ยนตำแหน่งและที่ตั้ง
แผ่นดินไหว หรือ ภูเขาไฟระเบิดทำให้ชั้นหินที่อยู่ในแนวราบเกิดการเรียงตัว
นอกจากนี้โครงสร้างทางธรณีวทยาที่ปรากฏอยู่ในหิน คือ รอยเลื่อน , รอยคดโค้งแนวราบชั้นไม่ต่อเนื่อง
แผ่นดินไหว หรือ ภูเขาไฟระเบิดทำให้ชั้นหินที่อยู่ในแนวราบเกิดการเรียงตัว
นอกจากนี้โครงสร้างทางธรณีวทยาที่ปรากฏอยู่ในหิน คือ รอยเลื่อน , รอยคดโค้งแนวราบชั้นไม่ต่อเนื่อง
ธรณีวิทยาของจ.สระบุรี ประกอบไปด้วยกลุ่มหินตะกอน , กลุ่มหินอัคนีและตะกอนที่ยังไม่แข็งตัว ทำให้สามารถทราบอายุของหินปูนได้ว่า เกิดในช่วง 299-251 ล้านปีที่แล้ว เกิดในยุคเพอร์เมียน
นักธรณีวิทยาเชื่อกันว่าตะกอนที่ยังไม่แข็งตัวมีอายุอ่อนกว่า 1.8 ล้านปี หรือยุคควอเทอร์นารี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น